วันอังคารที่ 31 พฤษภาคม พ.ศ. 2554

คำสั่งทั่วไปในการตรวจสอบข้อมูล

คำสั่งทั่วไปในการตรวจสอบข้อมูล

ผู้ บริหารระบบเครือข่ายสามารถใช้ทูลที่มีอยู่เพื่อตรวจสอบการทำงาน และใช้เป็นเครื่องมือในการรวบรวมข้อมูลของผู้เจาะระบบ

เครื่องมือที่ ใช้

IPConfig
ตัวอย่างคำสั่ง

IPConfig ตรวจสอบหมายเลขที่กำหนด

IPConfig /all ตรวจสอบรายละเอียดข้อมูลที่กำหนดทั้งหมด

IPConfig /renew ต่ออายุหรือขอหมายเลข IP Address

IPConfig /release ขอปลดหมายเลข IP Address

IPConfig /registerDNS  กำหนดให้ขอหมายเลข IPAddress ใหม่

IPConfig /displaydns แสดงค่ารายละเอียดในแคช

IPConfig /flushdns เป็นการเคลียร์แคชของ DNS

IPConfig /showclassid ตรวจสอบหมายเลข ClassIDs ที่กำหนด

IPConfig /setclassid กำหนดแก้ไข DHCP class id


Arp
เป็น คำสั่งในการตรวจสอบแคชระหว่างหมายเลข IP Address กับ MAC Address

ตัวอย่าง คำสั่ง

Arp –a หรือ Arp -g ตรวจสอบข้อมูลในแคช

Arp –s 10.10.10.11 00-aa-00-62-c6-09 –p เป็นการกำหนดเพิ่มในตารางแบบ Static และถาวร

Ping
เป็นคำสั่งที่ใช้ตรวจสอบเครื่องที่ ติดต่อมีพารามิเตอร์ดังนี้

-t เป็นการ Ping แบบต่อเนื่อง

-a เป้นการแก้ปัญหาหมายเลขกับชื่อโฮสต์

-n กำหนดจำนวนในการตอบกลับ

-l กำหนดขนาดของข้อมูลที่ติดต่อ

-f ไม่แตกข้อมูลเวลาติดต่อ

-I ttl กำหนดอายุ โดยทั่วไปของ Microsoft กำหนดเป็น 128 msec

-v tos กำหนดชนิดของบริการ

-r count กำหนดจำนวนการโดดเวลาติดต่อข้าม Router

-s count กำหนดเวลาเมื่อมีการโดด

-j host-list กำหนดแหล่งของเส้นทางที่เสียหาย

-k host-list กำหนดแหล่งของเส้นทางที่ระบุ

-w timeout ระบุเวลาในการรอตอบกับหน่วยเป็น msec

ตัวอย่างการใช้งาน

Ping 10.10.10.11

Ping 10.10.10.11 –t ติดต่อแบบต่อเนื่อง

Ping –l 65500 (เป็นการส่งข้อมูลขนาด 64K ซึ่ง W2K รองรับสูงสุด)

Tracert
กำหนด การหาเส้นทางสามารถระบุ

-d ไม่แสดงตำแหน่งที่ชื่อโฮสต์

-h maximum_hop จำนวนการโดดสูงสุด

-j host-list กำหนดแหล่งของเส้นทางที่สูญเสีย

-w timeout กำหนดเวลาในการตอบกลับเป็น msec

ตัวอย่างคำสั่ง

Tracert 10.10.0.1

PathPing
เป็นคำสั่งที่ใช้ในการหาเส้น ทาง ซึ่งระบุเปรียบเทียบเป็นเปอร์เซนต์

ตัวอย่างคำสั่ง

PathPing 10.10.0.1

Route
ดู หรือกำหนดค่า Routing Table ในการหาเส้นทางติดต่อ

ตัวอย่างการใช้งาน

Route print ตรวจสอบตาราง Routing table

Route add 10.10.0.0 mask 255.255.0.0 10.10.0.1 เป็นการเพิ่ม Routing table

Route delete 10.10.0.0

Route add 10.10.0.0 mask 255.255.0.0 10.10.0.1 metric 3 IF 2 -p

Net start
ตรวจสอบบริการต่างๆ เช่น

SNMP

Net send
เป็นการส่งข้อความผ่านเครือข่าย ซึ่งอยู่ในเซกเมนต์เดียวกัน ซึ่งนิยมใช้มากถ้าเป็น Windows NT/2000 รับได้โดยตรง แต่ถ้าเป็น WFW/Win9x ต้องเปิด Winpopup เพื่อรับข้อความเหล่านี้

ตัวอย่าง

Net send * Hello เป็นการส่งถึงทุกเครื่องในโดเมนหรือเวิร์คกรุ๊ป ด้วยข้อความ Hello

Net send /domain:classroom Hello ส่งข้อความไปทุกเครื่องโดเมน หรือเวิร์คกรุ๊ป Classroom ด้วยข้อความ Hello

Net file
เป็น การตรวจสอบไฟล์ที่ถูกใช้ในเครือข่าย

Net View
ใช้ ตรวจสอบ NetBIOS ของเครื่อง หรือชื่อเครื่องในโดเมน

Net Share
ใช้ ตรวจสอบชื่อแชร์ของเครื่อง

Netsh
เป็นคำสั่งที่ กำหนดค่าติดตั้งต่างๆของบริการใน Windows 2000 ในรูปแบบคำสั่ง ซึ่งเมื่อกำหนดจะเข้าไปในหน้าจอ Netsh สามารถเข้าไปปรับเปลี่ยนในบริการต่างๆได้ ถ้าไม่ทราบอะไรให้ใช้คำสั่ง Help

Netstat
ตรวจ สอบโดยมีพารามิเตอร์ต่างๆดังนี้

Netstat –a ดูรายการทั้งหมด

Netstat –e ดูสถิติของการใช้เครือข่าย

Netstat –n เป็นการแสดงตำแหน่งและพอร์ตแบบเป็นหมายเลข

Netstat –p proto กำหนดโปรโตคอลที่ต้องการตรวจสอบ

Netstat –r ดู Routing Table

Netstat –s ดูสถิติของ IP

Netstat 5 เป็นการกำหนดรอบในการดูข้อมูล

ตัวอย่าง

Netstat –pa UDP ตรวจสอบดูรายการที่ทำงานของ UDP



ใน UNIX: คำสั่งที่ใช้

Ps ax|grep snmp สำหรับ BSD

Ps ef|grep snmp สำหรับระบบ System V

Netstat –pa udp|grep snmp

Netstat –pna udp

Nbtstat
เป็นคำสั่งที่ตรวจสอบชื่อ NetBIOS

ตัวอย่าง การใช้งาน

Nbtstat –R เป็นการโหลดไฟล์ LMHOSTS ที่อยู่ใน <Systemroot>\System32\Drivers\etc ใน #PRE เข้าในแคช

Nbtstat –n ตรวจสอบชื่อที่ติดต่อ

Nbtstat –s ตรวจสอบการติดต่อ

Nbtstat –r ตรวจสอบชื่อที่แก้ และสถิติที่ติดต่อ

Nbtstat –c ตรวจสอบรายชื่อในแคช

Telnet
เป็นคำสั่งที่ใช้ตรวจ สอบบริการ ซึ่งดีฟอลท์พอร์ตคือ 23

Telnet ตำแหน่งโฮสต์ พอร์ต

ตัวอย่าง เช่น

Telnet 203.154.206.11 25

เป็นการตรวจสอบบริการ SMTP

ไม่มีความคิดเห็น:

แสดงความคิดเห็น